THAI 014
014211 - PALI-SANSKRIT IN THAI (ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย) [2/61]
014211 PALI-SANSKRIT IN THAI (ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย)
อ. สาโรจน์ บัวพันธุ์งาม
014211 - Pali-Sanskrit in Thai [2/63]
History of Pali and Sanskrit. Structures and characteristics of Pali and Sanskrit as compared to Thai language. Borrowed words from Pali and Sanskrit commonly used in Thai language. Influences of Pali and Sanskrit on Thai language.
THA: ความเป็นมาของภาษาบาลีและสันสกฤต โครงสร้างและลักษณะของภาษาบาลีและสันสกฤตเปรียบเทียบกับภาษาไทย คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตที่ใช้ในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาบาลีและสันสกฤตต่อภาษาไทย
014304 - Speaking [1/62]
Principles of speech communication, speech delivery, types of speech, and practice of speaking skills.
หลักการพูด การเสนอสาร การพูดแบบต่างๆ และการพัฒนาทักษะการพูด
014310 - Thai Linguistics [2/62]
ลักษณะการศึกษาภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ คำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาศาสตร์ การศึกษาภาษาไทยตามแนวต่างๆ ระบบเสียงภาษาไทย ระบบคำภาษาไทย และระบบประโยคภาษาไทย
014311 - Language and Society [1/62]
Relationship between language and society. Diversity of languages in Thai society. Dialects of Thai language. Language used in Thai society. Registers of Thai language. Language contact in Thai society. Language variation and language change in Thai society. Thai language and technological innovations. Linguistic landscapes in Thai society. Survey of relevant research paper and practices of Thai analysis in different social contexts.
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสังคม ความหลากหลายทางภาษาในสังคมไทย ภาษาย่อยของภาษาไทย การใช้ภาษาในสังคมไทย ทำเนียบภาษาของภาษาไทย การสัมผัสภาษาในสังคมไทย การแปรและการเปลี่ยนแปลงของภาษาในสังคมไทย ภาษาไทยกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิทัศน์ภาษาในสังคมไทย การสำรวจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการฝึกวิเคราะห์ภาษาไทยในบริบททางสังคม
014320 LANGUAGE & SOCIETY
วิชานี้มุ่งให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสังคม ปัจจัยทางสังคมที่ทำให้เกิดการแปรภาษาและภาษาย่อย อิทธิพลของภาษาต่อสังคม การวิเคราะห์วิจัยภาษาในบริบททางสังคม
014321 - Thai Dialectology [2/61]
General characteristics of dialects. Classification criteria, and theoretical approaches to dialectology. Dialects in Thailand, their importance, status and roles in Thai society.
ลักษณะทั่วไปของภาษาถิ่น เกณฑ์การแบ่งและแนวทางการศึกษาภาษาถิ่น ภาษาถิ่นในประเทศไทย ความสำคัญ สถานภาพและบทบาทของภาษาถิ่นในสังคมไทย
014323 - Language and Communication [2/62]
Importance of language in communication. Analysis, criticism, techniques and efficient usage of language in interpersonal communication and mass communication.
ความสำคัญของภาษาต่อการสื่อสาร การวิเคราะห์ วิจารณ์ กลวิธี และประสิทธิภาพของการใช้ภาษาในการสื่อสารระหว่างบุคคล และการสื่อสารกับมวลชน
014324 - THAI SOUNDS [1/62]
ลักษณะเสียงภาษาไทย วิธีการวิเคราะห์เสียงภาษาไทย เสียงกับปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างเสียงกับตัวอักษรและปัญหาเกี่ยวกับเสียงภาษาไทย
014399 - THAI LANG & LIT RES METH [2/62]
Fundamentals of research and research methodology. Uniqueness of research in language and literature. Study of language and literary researches. Practice conducting and presenting research.
THA: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย และระเบียบวิธีการวิจัย ลักษณะเฉพาะของการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรม การศึกษาผลงานการวิจัยภาษาและวรรณกรรม ฝึกวิจัยและเสนอผลงาน
014401 - Formal Writing [1/62]
Methodology of writing for business and official communication, and practice of formal writing.
ระเบียบวิธีการเขียนเพื่อการสื่อสารในวงธุรกิจและวงราชการ และพัฒนาทักษะในการเขียน
014404 - Art of Speaking [2/61]
Principles and components of effective speaking. Preparation techniques. Audience analysis. Script and speech writing. Art of using language, voice and body expression. Artful speaking to effectively accomplish a goal. Analysis of speech and speaking. Practice of script writing and speaking.
หลักการและองค์ประกอบของการพูดที่ดี กลวิธีในการเตรียมตัว การวิเคราะห์ผู้ฟัง การเขียนบทพูดและสุนทรพจน์ ศิลปะการใช้ภาษา เสียง และท่าทาง การพูดอย่างเป็นวรรณศิลป์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์สุนทรพจน์และการพูด การฝึกเขียนบทพูดและฝึกพูด
014410 - DEVOLOPMENT OF THAI LANGUAGE [1/63]
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
ม . ท . 410 พัฒนาการภาษาไทย 3(3/3-0/0)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน ม . ท . 210
เปิดสอนเป็นกระบวนวิชา เอกบังคับ
คำอธิบายลักษณะกระบวนวิชา
วิธีการศึกษาภาษาเชิงประวัติ พัฒนาการของภาษาไทยในด้านอักษร อักขรวิธี เสียง คำ ไวยากรณ์ ความหมาย และสำนวนโวหารตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์ภาษาไทยจากจารึก และเอกสารสมัยต่าง ๆ ตลอดจนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยปัจจุบัน
014422 - Study of Thai as a Foreign Language
Sounds, articulation organs and sound production. Sound systems and grammatical systems of mother tongue. Second language and foreign language. Principles and process of acquisition of mother tongue, second language and foreign language. Types and characteristics of linguistic interference. Characteristics of Thai as a foreign language in terms of sounds, grammar, idioms and meanings. Pronunciation problems and solutions.
เสียง อวัยวะการออกเสียงและการสร้างเสียง ระบบเสียงและระบบไวยากรณ์ของภาษาแม่ ภาษาที่สองและภาษาต่างประเทศ หลักการและกระบวนการเรียนรู้ภาษาแม่ ภาษาที่สองและภาษาต่างประเทศ ประเภทและลักษณะการแทรกแซงของภาษา ลักษณะของภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศด้านเสียง ไวยากรณ์ สำนวน และความหมาย ปัญหาและการฝึกแก้ไขการออกเสียงภาษาไทย
014471 - Masterpieces of Thai Literature [2/64]
https://elearning.cmu.ac.th/pluginfile.php/1554403/course/summary/014471-2.pdfAnalysis and criticism of forms and contents of selected Thai masterpieces with emphasis on literary distinctions and values.
THA: วิเคราะห์วิจารณ์ รูปแบบ และเนื้อหาของวรรณกรรมที่คัดเลือกมา โดยเน้นความดีเด่นและคุณค่าของวรรณกรรม
014471 - MASTERPIECES OF THAI LIT [1/62]
014471 THAI MASTERPIECES sec 001
อ.หทัยวรรณ ไชยะกุล
014481 - Masterpieces of World Literature [1/62]
A study of forms, presentation techniques, contents and themes of Thai versions of selected masterpieces of world literature.
รูปแบบ กลวิธีนำเสนอ เนื้อหา และแนวคิดของวรรณกรรมเอกของโลกที่ถ่ายทอดเป็นภาษาไทย ตามที่เลือกสรรมา
022712 - LINGUISTIC AND LITERARY DIVERISITIES IN LANNA [2/61]
Short history of regional histories and Lanna history. Characteristics of pluralistic society and culture. Classification of languages and literatures in Lanna. Study and classification of languages and literatures of the majorities. Study and classification of languages and literatures of the minorities. Roles and functions of linguistic and literary diversities in constructing Lanna society and culture. Lanna linguistic and literary diversities in the Thai contexts.
สังเขปประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและประวัติศาสตร์ล้านนา ลักษณะของสังคมพหุชนและพหุวัฒนธรรม การจำแนกกลุ่มภาษาและวรรณกรรมในล้านนา การศึกษาและจำแนกภาษาและวรรณกรรมของชนกลุ่มใหญ่ในล้านนา การศึกษาและจำแนกลักษณะกลุ่มภาษาและวรรณกรรมของชนกลุ่มน้อยในล้านนา บทบาทหน้าที่ของความหลากหลายทางภาษาและวรรณกรรมในการสร้างสรรค์สังคมและวัฒนธรรมล้านนา ความหลากหลายทางภาษาและวรรณกรรมในล้านนาในบริบทของสังคมไทย
024710 - Theories of Language
Overview of concepts and theories in language analysis; concepts and theories in sentence and discourse analysis; analyzing Thai language by using concepts and theories in sentence and discourse
อธิบายภาพรวมของแนวคิดและทฤษฎีในการวิเคราะห์ภาษา อธิบายแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ประโยคและข้อความ วิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ประโยคและข้อความที่ได้ศึกษา
024731 - TAI LANGUAGE FAMILY
Definition, scope, distribution and classification of Tai language family. Common features and characteristics of each group of Tai language family. Status and roles of Tai language family.
024738 - THAI LANG IN SOC & CULT [1/62]
แนวคิดและทฤษฎีทางภาษา สังคม และวัฒนธรรม
การวิเคราะห์ภาษาเชิงวัฒนธรรม
การวิเคราะห์ภาษาปัจจุบันตามแนวคิดและทฤษฎีทางด้านภาษา สังคม และวัฒนธรรม
025310 - LINGUISTIC CHARACTERISTICS OF THAI [1/62]
General knowledge of Thai and Tai languages; Characteristics of Thai sounds, words and sentences.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาตระกูลไท ลักษณะเสียง คำ และประโยคภาษาไทย
025420 - Thai Culture in Thai Language [1/63]
Approaches of relationship between language and culture. Words reflecting Thai culture. Origins, structures, contents, meanings, and relationship between Thai expressions and Thai ways of life.
แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม คำที่สะท้อนวัฒนธรรมไทย ที่มา โครงสร้าง เนื้อหา ความหมาย และความสัมพันธ์ระหว่างสำนวนไทยกับวิถีไทย
029787 - CONTEMPORARY CONCEPTS IN THE STUDY OF SOCIETY AND CULTURE [2/61]
Contemporary concepts for study of society and culture: Identity and Space, Border and Frontier, Power, Discourses, Knowledge and Truth, Body and Bodily Practices, Symbolic Consumption, Invented Traditions and Neo-Traditionalism, Community of Practices and Social Memory
แนวคิดร่วมสมัยทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาที่ใช้ในการศึกษาสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่แนวคิด อัตลักษณ์และพื้นที่ ชายแดนและพรมแดน อำนาจ วาทกรรม ความรู้ และความจริง ร่างกายและการปฏิบัติทางร่างกาย การบริโภคเชิงสัญญะ วัฒนธรรมประดิษฐ์และจารีตนิยมสมัยใหม่ ชุมชนปฏิบัติ และความทรงจำทางสังคม
050100 - USAGE OF THAI LANGUAGE อ.สุภาวดี [1/62]
A study of the usage of the Thai Language and practice in writing.
ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาไทย
050103 - THAI SOCIETY AND CULTURE (sec.003) [1/63] (2019-2020 | HUMAN GENERAL EDUCATION)
An introduction to Thai Society and Culture based on analytical tools derived from Thai intellectual heritage, including critical expositions of theory on Thai Society and culture arisen from Western Worldviews, and alternatives of Socioeconomic changes.
THA: การศึกษาเชิงแนะนำเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยอาศัยเครื่องมือการวิเคราะห์ที่มาจากมรดกทางปัญญาของไทย รวมทั้งการเสนอในเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับทฤษฎีที่มาจากโลกทรรศน์ตะวันตกที่ใช้ในการศึกษาสังคม และวัฒนธรรมไทย และทางเลือกอื่น ๆ ของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของไทย
050103-THAI SOCIETY AND CULTURE (sec.001) [1/63]
An introduction to Thai Society and Culture based on analytical tools derived from Thai intellectual heritage, including critical expositions of theory on Thai Society and culture arisen from Western Worldviews, and alternatives of Socioeconomic changes.
THA: การศึกษาเชิงแนะนำเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยอาศัยเครื่องมือการวิเคราะห์ที่มาจากมรดกทางปัญญาของไทย รวมทั้งการเสนอในเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับทฤษฎีที่มาจากโลกทรรศน์ตะวันตกที่ใช้ในการศึกษาสังคม และวัฒนธรรมไทย และทางเลือกอื่น ๆ ของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของไทย
050103-THAI SOCIETY AND CULTURE (sec.002) [1/63]
An introduction to Thai Society and Culture based on analytical tools derived from Thai intellectual heritage, including critical expositions of theory on Thai Society and culture arisen from Western Worldviews, and alternatives of Socioeconomic changes.
THA: การศึกษาเชิงแนะนำเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยอาศัยเครื่องมือการวิเคราะห์ที่มาจากมรดกทางปัญญาของไทย รวมทั้งการเสนอในเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับทฤษฎีที่มาจากโลกทรรศน์ตะวันตกที่ใช้ในการศึกษาสังคม และวัฒนธรรมไทย และทางเลือกอื่น ๆ ของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของไทย
THAI SOCIETY AND CULTURE (sec 003) [2/63]
An introduction to Thai Society and Culture based on analytical tools derived from Thai intellectual heritage, including critical expositions of theory on Thai Society and culture arisen from Western Worldviews, and alternatives of Socioeconomic changes.
THA: การศึกษาเชิงแนะนำเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยอาศัยเครื่องมือการวิเคราะห์ที่มาจากมรดกทางปัญญาของไทย รวมทั้งการเสนอในเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับทฤษฎีที่มาจากโลกทรรศน์ตะวันตกที่ใช้ในการศึกษาสังคม และวัฒนธรรมไทย และทางเลือกอื่น ๆ ของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของไทย